
การพัฒนาต่อยอดของประเทศ เพื่อให้ประเทศมีความก้าวหน้าไปสู่ ยุคที่มีองค์ความรู้และนวัตกรรมเป็นสิ่งนำพาประเทศ เพื่อให้รองรับกับสภาพการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป และให้ประเทศไทยสามารถแข่งขันในเวทีโลกได้ เสาหลักของประเทศในด้านนี้ อย่าง “เทคโนโลยีสารสนเทศ” (Information Technology : IT) จึงมีบทบาทสำคัญอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ประเทศไทย ยังขนาดผู้เชี่ยวชาญทางด้าน IT อีกมาก ซึงจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาบุคลากรด้านนี้ เพื่อให้รองรับกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยจะได้ก้าวทัน โดยบุคลกรทางด้าน IT เหล่านี้จะเป็นผู้วิจัยและพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมเพื่อนำมาให้ภาคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมหรือพาณิชย์สามารถเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและนำหน้าประเทศอื่นๆ ได้
ติดต่อเรา 081-4311414, 02-954-7300 ต่อ 444, 602
ชื่อปริญญา
- ชื่อเต็ม(ภาษาไทย)
- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
- ชื่อย่อ(ภาษาไทย)
- ปร.ด.(เทคโนโลยีสารสนเทศ)
- ชื่อเต็ม(ภาษาอังกฤษ)
- Doctor of Philosophy (Information Technology)
- ชื่อย่อ(ภาษาอังกฤษ)
- Ph.D. (Information Technology)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรองเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2560
คุณสมบัติด้านการศึกษา
ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท จากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง และเคยลงทะเบียนเรียนในรายวิชาทางคอมพิวเตอร์ทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทรวมกันมากกว่าหรือเท่ากับ 15 หน่วยกิต สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาในแบบ ๑.๑ ต้องเคยมีผลงานที่ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมาร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) ก่อนการพิมพ์ และเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทำไมน่าเรียน?
เพื่อพัฒนาต่อยอดการเรียนทางด้านการสร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ IT ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ โดยไม่จำเป็นจะต้องมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ หรือจบทางด้านคอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศมาก่อน แต่ว่าทุกๆ คนจำเป็นที่จะต้องนำความรู้ทางด้าน IT ไปประยุกต์ใช้กับศาสตร์ต่างๆ และเพื่อพัฒนางานวิจัยที่เป็นระบบ โดยมีการนำ IT เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาประเทศ ให้มีบุคลากรของประเทศที่มีองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี กระบวนการคิด และวิธีการคิดในการแก้ปัญหาที่มีระบบและสร้างนวัตกรรมต่อยอดต่อไปได้ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ค่าใช้จ่ายเหมาจ่ายตลอดหลักสูตร
ค่าใช้จ่ายเหมาจ่ายตลอดหลักสูตร ประมาณ 510,000 บาท
- เหมาจ่ายต่อภาคการศึกษา 85,000 บาท 2 เทอมต่อปี
- หลักสูตร 3 ปี
- มอบตัว 10,000 บาท
- ค่าเทอมสามารถแบ่งผ่อนชำระเงิน ได้ 3 งวด
จบแล้วทำอะไร?
- นักพัฒนาระบบ
- นักวิเคราะห์ระบบ
- เจ้าของธุรกิจดิจิทัล
- ผู้จัดการโครงการทางด้าน IT
- Chief Information Officer (CIO)
- อาจารย์
รายวิชาที่น่าสนใจ
- ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการเรียนการสอนทางด้านระเบียบวิธีการทำวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการค้นหาปัญหาสำหรับงานวิจัย การพัฒนางานวิจัย การออกแบบการทดลอง การเขียนรายงานการวิจัย การสรุปผลการวิจัย รายวิชาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องานวิจัย โดยคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีผลงานทางวิจัยอย่างต่อเนื่อง และได้รับทุนการวิจัยจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างหลักสูตร เป็นหลักสูตรระดับปริญญาเอก แบบ 1.1 และแบบ 2.1 ดังนี้
แบบ 1.1 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ | ||
---|---|---|
ชื่อวิชา | หน่วยกิต | |
วิชาปรับพื้นฐาน | - (ไม่นับหน่วยกิต) | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | |
รวม | 48 |
แบบ 2.1 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ | ||
---|---|---|
ชื่อวิชา | หน่วยกิต | |
วิชาปรับพื้นฐาน | - (ไม่นับหน่วยกิต) | |
วิชาบังคับ | 12 | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | |
รวม | 48 |
แบบ 1.1 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่
ปีที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 6 |
ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 6 |
ปีที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 6 |
ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 6 |
ปีที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1 (12 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 12 |
ภาคการศึกษาที่ 2 (12 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 12 |
แบบ 2.1 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ
ปีที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT802/td> | ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ | 3 |
IT827 | หัวข้อพิเศษด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ | 3 |
ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT803 | สัมมนาวิจัย | 3 |
IT828 | หัวข้อปัจจุบันด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ | 3 |
ปีที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 6 |
ภาคการศึกษาที่ 2 (6 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ | 6 |
ปีที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1 (12 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT921 | ดุษฎีนิพนธ์ | 12 |
ภาคการศึกษาที่ 2 (12 หน่วยกิต) | ||
---|---|---|
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT921 | ดุษฎีนิพนธ์ | 12 |
วิชาปรับพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต) | ||
นักศึกษาที่คณะกรรมการหลักสูตร เห็นสมควรให้ศึกษาวิชาเสริมพื้นฐานเพิ่มเติมภายใน 1 ปี ต้องศึกษาจากรายวิชาดังต่อไปนี้ | ||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT613 | วิทยาการข้อมูล Data Science |
3 (3-0-9) |
IT616 | สถาปัตยกรรมองค์การ Enterprise Architecture |
3 (3-0-9) |
คณะกรรมการหลักสูตรอาจพิจารณาให้ลงทะเบียนเรียนเพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต จากรายวิชาในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ผลการเรียนเป็น S หรือ U หรือรายวิชาที่หลักสูตรได้เปิดสอน โดยให้ผลการเรียนเป็น S หรือ U |
วิชาบังคับ (4 วิชา 12 หน่วยกิต) | ||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT802 | ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ Research Methodology in Information Technology |
3 (3-0-12) |
IT803 | สัมมนาการวิจัย Research Seminar |
3 (3-0-12) |
IT827 | หัวข้อพิเศษด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ Special Topics in Information Technology |
3 (3-0-12) |
IT828 | หัวข้อปัจจุบันด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ Current Issues in Information Technology |
3 (3-0-12) |
วิทยานิพนธ์ | ||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต |
IT920 | ดุษฎีนิพนธ์ *(สำหรับ แบบ 1.1) Dissertation |
48 |
IT921 | ดุษฎีนิพนธ์ *(สำหรับ แบบ 2.1) Dissertation |
36 |